อุปกรณ์สำหรับใช้ในห้องเอกซเรย์ทั่วไป

                  อุปกรณ์สำหรับใช้ในห้องเอกซ์เรย์ทั่วไป ประกอบด้วย ฉากตะกั่วกันรังสี ชุดเสื้อตะกั่ว ชุดกระโปรงตะกั่ว ผ้าผูกเอวตะกั่ว ที่แขวนชุดตะกั่ว ตู้อ่านฟิล์ม เครื่องวัดความดัน เครื่องวัดอุณหภูมิ เครื่องชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง นาฬิกาจับเวลา ตลับใส่ฟิล์มพร้อมสกรีน film marker step wegde ฐานถ่ายไซนัส เปลเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ฯลฯ

การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738

อ่านเพิ่มเติม : ห้องบรรยาย