QA Kit for X-ray Unit

                เครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับใช้ทดสอบคุณภาพของเครื่องเอกซเรย์ทั่วไป ฟลูออโรสโคปี แมมโมแกรม และเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย digital KVp meter สามารถวัด kVp เวลาฉายรังสีและวัดปริมาณรังสีในตัวเดียวกัน มีจอแสดงผลเป็นตัวเลขดิจิตอล ชุดตรวจสอบโฟคอลสปอต เครื่องมือตรวจสอบ HVL อลูมิเนียมสเต็ปเวดจ์ เครื่องมือตรวจสอบ tomographic  เครื่องตรวจสอบ  high contrast resolution เครื่องมือตรวจสอบความแนบชิดของฟิล์มกับสกรีน เครื่องมือตรวจการจัดตัวของกริด เครื่องมือตรวจสอบ low resolution constrast และชุดตรวจสอบคอลลิเมเตอร์ และอุปกรณ์หุ่นจำลองเนื้อเยื่อหลายรูปแบบ

การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738
การ เรียนการสอนสาขารังสี เทคนิค นอกจากการเรียนรู้ในภาคทฤษฎีแล้ว ยังจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติจริงด้วย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ แต่การเรียนสาขารังสีเทคนิค ผู้เรียนต้องเรียนการใช้รังสีในการสร้างภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และการใช้รังสีเพื่อการรักษาโรค ดังนั้น จึงต้องสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดท่าผู้ป่วยเพื่อการถ่ายภาพเอกซเรย์ และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยการเรียนจากเครื่องเอกซเรย์ที่ใช้งานจริง ซึ่งมีราคาแพงมาก ขณะเดียวกัน ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากรังสีด้วย ดังนั้น ภาควิชารังสีเทคนิค จึงได้มีโครงการจัดตั้งห้องฝึกการจัดท่าผู้ป่วยด้วยเครื่องเอกซเรย์จำลอง อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้แบบองค์รวม เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนใหม่ ไม่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสกับรังสี และสามารถฝึกการจัดท่าผู้ป่วยได้เหมือนจริงพร้อมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 30 คน ผู้เรียนจะได้เรียนและฝึกการจัดท่าผู้ป่วยกับเครื่องเอกซเรย์จำลองจนเกิด ความชำนาญระดับหนึ่งก่อนจะกระทำกับเครื่องจริง โดยที่อาจารย์ของภาควิชารังสีเทคนิค ทำการสร้างเครื่องเอกซเรย์จำลอง จัดหาและพัฒนาชุดควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถบอกเทคนิคที่ถูกต้อง พร้อมแสดงภาพเอกซเรย์ที่สอดคล้องกับการจัดท่าผู้ป่วย โครงการนี้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552-2555 ยุทธศาสตร์ 2 “สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศทางวิชาการ” กลยุทธ์ “สร้างบรรยากาศเพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์คณะเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2551-2555 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพรอบด้าน มาตรการ 1.1 การขยายผลการเรียนการสอนแบบ Competency-based modularization เพื่อการพัฒนาศักยภาพตามความสามารที่คาดหวัง..... อ่านต่อได้ที่: https://www.learners.in.th/posts/317738

อ่านเพิ่มเติม : X-ray Fluoroscopy